หน้าแรก
Home
เกี่ยวกับเรา
About Us
บทความ
Articles
หนังสือแนะนำ
Books
หลักสูตร
Inhouse Courses
สมาชิก
Member
ติดต่อเรา
Contact Us
Upper
Assessment
 

กรุณาระบุอีเมล์ของท่าน
เพื่อรับข่าวสารจากเรา







search

Training and Seminar

Articles
การออกแบบโครงสร้างเงินเดือน Share
By สุวิช นุกูลสุขศิริ
Published Date 8 มิถุนายน 2552

การออกแบบโครงสร้างเงินเดือน
โดย สุวิช นุกูลสุขศิริ
Upper Knowledge HR Professional
ผู้เชี่ยวชาญการบริหารค่าจ้างเงินเดือน และบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีประสบการณ์มากมายในการวางระบบบริหารค่าจ้างเงินเดือน การสำรวจค่าจ้าง วางโครงสร้างองค์กร ระบบบริหารผลงาน และระบบบริหารทรัพยากรบุคคล

     เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า “คน” เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญต่อองค์กรมากที่สุด เป้าหมายของการบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กร คือ การดึงดูด รักษาบุคลากรที่ดีมีฝีมือให้อยู่กับองค์กร พัฒนาบุคลากร และจูงใจบุคลากรเหล่านั้น ให้ทุ่มเท ใช้ความรู้ ความสามารถของตน ในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อสร้างผลงานและนำพาองค์กรให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการได้

     การบริหารค่าจ้างเงินเดือนที่มีระบบ มีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เป็นธรรม และเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย จะเป็นเครื่องมือสำคัญอันหนึ่งที่ช่วยให้องค์กรบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ซึ่งการจัดทำโครงสร้างเงินเดือนที่มีประสิทธิผล สอดคล้องกับเป้าหมาย นโยบาย และวัฒนธรรมองค์กร รวมถึงความรู้ความเข้าใจและความสามารถของผู้บริหารในการบริหารระบบได้อย่างเหมาะสม จึงส่งผลต่อความสำเร็จขององค์กร

     การวางแผนและบริหารระบบค่าตอบแทนอย่างมีประสิทธิภาพของหลายบริษัทไทยชั้นนำ และบริษัทข้ามชาติ มีหลักการที่สำคัญดังนี้

1. แนวความคิด และหลักการออกแบบระบบบริหารค่าจ้างเงินเดือน (Conceptual Design)
2. การกำหนดนโยบายค่าตอบแทน (Remuneration Policy)
3. เครื่องมือและกระบวนการบริหารค่าจ้างเงินเดือน (Tools & Process)
   - การวิเคราะห์งาน และใบกำหนดหน้าที่งาน (Job Analysis & Job Profiles)
   - การประเมินค่างาน และการจัดระดับงาน (Position Evaluation & Classification)
   - การสำรวจค่าจ้าง และการนำผลการสำรวจมาใช้ (Market Survey)
   - การวางโครงสร้างเงินเดือน (Pay Structure)
   - การบริหารผลงานและการนำผลมาใช้ตอบแทนจูงใจ (Performance Management)
   - การบริหารเงินเดือนและการขึ้นเงินเดือน (Compensation Administration & Pay Increase) 

สนใจประยุกต์ใช้เทคนิคข้างต้นและร่วมฝึกปฏิบัติจริง จากแบบฝึกหัดและกรณีศึกษา?  คลิกที่นี่
หรือติดต่อ Upper Knowledge Co., Ltd.  Tel. 02-730-5589, 080-447-8902, 089-129-8989



line